ข้อมูล eBook
ชื่อ: วิเคราะห์คำสอนฮวงโป (ภาค ๑)
พระคัมภีรญาณ อภิปุญโญ
สำนักพิมพ์: ธรรมสภา
หมวดหลัก: ศาสนาและปรัชญา
คงเหลือ: 1
เนื้อหา
“คำสอนท่านฮวงโป” เป็นหลักคำาสอนของพุทธศาสนานิกาย เซน ท่านอาจารย์พุทธทาสแปลจากภาษาอังกฤษมาสู่ภาษาไทย; ปัจจุบันเป็นที่นิยมกันอย่างกว้างขวางในสังคมปัญญาชน; เพราะเหตุ ว่าคำาสอนของท่านฮวงโปนั้น มีความลุ่มลึก เป็นการยากสำาหรับบาง คนในการที่จะทำาความเข้าใจ แต่ถ้ามีความสนใจ และตั้งใจ ก็สามารถ ทำาให้เข้าถึงความเห็นแจ้งธรรมะได้เร็วขึ้น เป็นการประหยัดเวลาได้ มากทีเดียว. ประโยคที่ ๑ “พระพุทธเจ้าทั้งปวง และสัตว์โลกทั้งสิ้น” พระพุทธเจ้าในที่นี้ หมายถึง พระพุทธเจ้าที่เป็นองค์พระศาสดา, ที่ใช้คำาว่า “ทั้งปวง” เป็นความเชื่อของชาวพุทธโดยทั่วไป เช่น เชื่อกันว่า ก่อนพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน, (พระสมณโคดม) มีพระพุทธเจ้าอีกหลาย พระองค์ ที่เคยอุบัติขึ้นในโลก. คำาว่า “สัตว์โลก” ไม่ใช่สัตว์เดรัจฉาน เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย เป็นต้น, แต่หมายถึงคนที่ยังเป็นปุถุชน, ผู้ที่ยังไม่เห็นแจ้ง ต่อความจริงของธรรมชาติ. ประโยคที่ ๒ “ไม่ได้เป็นอะไรเลย นอกจากเป็นเพียงจิตหนึ่ง (One mind)” เมื่อประจักษ์แจ้งต่อจิตหนึ่ง, ย่อมไม่มีความแตกต่างระหว่างพระ พุทธเจ้าที่เป็นองค์พระศาสดา กับคนธรรมดาสามัญทั่ว ๆ ไป. คำาว่า “เป็น” คือ ลักษณะของความคิดปรุงแต่งหรือความรู้สึกปรุงแต่ง เช่น คิดว่าเป็น นั่น, เป็นนี่, รู้สึกว่าเป็นอย่างนั้น, เป็นอย่างนี้, แต่ผู้ที่ประจักษ์แจ้งอยู่กับ “จิตหนึ่ง” ย่อมไม่มีความคิดว่าเป็นอะไร. เป็นโดยสมมุติ, ไม่เป็นโดย ปรมัตถ์.
“คำสอนท่านฮวงโป” เป็นหลักคำาสอนของพุทธศาสนานิกาย เซน ท่านอาจารย์พุทธทาสแปลจากภาษาอังกฤษมาสู่ภาษาไทย; ปัจจุบันเป็นที่นิยมกันอย่างกว้างขวางในสังคมปัญญาชน; เพราะเหตุ ว่าคำาสอนของท่านฮวงโปนั้น มีความลุ่มลึก เป็นการยากสำาหรับบาง คนในการที่จะทำาความเข้าใจ แต่ถ้ามีความสนใจ และตั้งใจ ก็สามารถ ทำาให้เข้าถึงความเห็นแจ้งธรรมะได้เร็วขึ้น เป็นการประหยัดเวลาได้ มากทีเดียว. ประโยคที่ ๑ “พระพุทธเจ้าทั้งปวง และสัตว์โลกทั้งสิ้น” พระพุทธเจ้าในที่นี้ หมายถึง พระพุทธเจ้าที่เป็นองค์พระศาสดา, ที่ใช้คำาว่า “ทั้งปวง” เป็นความเชื่อของชาวพุทธโดยทั่วไป เช่น เชื่อกันว่า ก่อนพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน, (พระสมณโคดม) มีพระพุทธเจ้าอีกหลาย พระองค์ ที่เคยอุบัติขึ้นในโลก. คำาว่า “สัตว์โลก” ไม่ใช่สัตว์เดรัจฉาน เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย เป็นต้น, แต่หมายถึงคนที่ยังเป็นปุถุชน, ผู้ที่ยังไม่เห็นแจ้ง ต่อความจริงของธรรมชาติ. ประโยคที่ ๒ “ไม่ได้เป็นอะไรเลย นอกจากเป็นเพียงจิตหนึ่ง (One mind)” เมื่อประจักษ์แจ้งต่อจิตหนึ่ง, ย่อมไม่มีความแตกต่างระหว่างพระ พุทธเจ้าที่เป็นองค์พระศาสดา กับคนธรรมดาสามัญทั่ว ๆ ไป. คำาว่า “เป็น” คือ ลักษณะของความคิดปรุงแต่งหรือความรู้สึกปรุงแต่ง เช่น คิดว่าเป็น นั่น, เป็นนี่, รู้สึกว่าเป็นอย่างนั้น, เป็นอย่างนี้, แต่ผู้ที่ประจักษ์แจ้งอยู่กับ “จิตหนึ่ง” ย่อมไม่มีความคิดว่าเป็นอะไร. เป็นโดยสมมุติ, ไม่เป็นโดย ปรมัตถ์.