ข้อมูล eBook
ชื่อ: สยามในอดีต
คนข่าว 2499
สำนักพิมพ์: บริษัท ออลเดย์ ช็อปปิ้ง จำกัด
หมวดหลัก: ประวัติศาสตร์
คงเหลือ: 1
เนื้อหา
สยามในอดีต เป็นตำนาน เป็นเรื่องเล่าขาน เปรียบได้เหมือนเครื่องมือที่ช่วยถ่ายทอดเรื่องราวทางประวัติศาสตร์
ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ รวมถึงประเพณีต่างๆของคนในยุคอดีตในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒
ได้ให้นิยามของคำว่า ตำนาน ไว้ว่า...(๑) น. เรื่องแสดงความเป็นมาแต่ปางหลังของสถานที่ บุคคลหรือพิธีกรรม เป็นต้น,
เรื่องราวนมนานที่เล่ากันสืบๆ มา, เช่น ตำนานพุทธเจดีย์, ตำนานเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว (ข. ตำนาล ว่า เรื่องสมัยโบราณที่เล่าต่อๆ กันมา) (๒) น.
เรียกพระปริตรบทหนึ่งๆ ว่า ตำนาน ในคำว่า เจ็ดตำนาน สิบสองตำนาน. (ข. ตำนาล ว่า เรื่องสมัยโบราณที่เล่าต่อๆ กันมา)
ในหนังสือแบบเรียนประวัติศาสตร์ ของกรมสามัญศึกษา ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๔ หน้า ๗๔ ได้ให้นิยามของคำว่าตำนาน
และการใช้ประโยชน์จากตำนานในการศึกษาทางวิชาการไว้ว่า...คำนำสำนักพิมพ์“เป็นนิทานพื้นบ้าน นิทานปรัมปรา และเทพนิยายผสมผสานเข้าด้วยกัน
เนื้อเรื่องส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับศาสนา การใช้ข้อมูลจากตำนานต้องตรวจสอบกับหลักฐานอื่นๆ ให้ดีก่อน เพราะตำนานมักจะคัดลอกต่อๆ กันมา
บางเรื่องมีหลายสำนวน เช่น ตำนานมูลศาสนามีถึง ๕ สำนาน การคัดลอกมีข้อความผิดพลาดตกหล่น บางครั้งก็เขียนต่อยาวกันเป็นพืด
ทั้งที่เป็นคนละเรื่องกัน ทำให้ยากต่อการตีความ”ดังนั้น ในเล่ม “สยามในอดีต” จึงพยายามคัดลอกให้เหมือนต้นฉบับจริงให้มากที่สุด
สยามในอดีต เป็นตำนาน เป็นเรื่องเล่าขาน เปรียบได้เหมือนเครื่องมือที่ช่วยถ่ายทอดเรื่องราวทางประวัติศาสตร์
ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ รวมถึงประเพณีต่างๆของคนในยุคอดีตในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒
ได้ให้นิยามของคำว่า ตำนาน ไว้ว่า...(๑) น. เรื่องแสดงความเป็นมาแต่ปางหลังของสถานที่ บุคคลหรือพิธีกรรม เป็นต้น,
เรื่องราวนมนานที่เล่ากันสืบๆ มา, เช่น ตำนานพุทธเจดีย์, ตำนานเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว (ข. ตำนาล ว่า เรื่องสมัยโบราณที่เล่าต่อๆ กันมา) (๒) น.
เรียกพระปริตรบทหนึ่งๆ ว่า ตำนาน ในคำว่า เจ็ดตำนาน สิบสองตำนาน. (ข. ตำนาล ว่า เรื่องสมัยโบราณที่เล่าต่อๆ กันมา)
ในหนังสือแบบเรียนประวัติศาสตร์ ของกรมสามัญศึกษา ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๔ หน้า ๗๔ ได้ให้นิยามของคำว่าตำนาน
และการใช้ประโยชน์จากตำนานในการศึกษาทางวิชาการไว้ว่า...คำนำสำนักพิมพ์“เป็นนิทานพื้นบ้าน นิทานปรัมปรา และเทพนิยายผสมผสานเข้าด้วยกัน
เนื้อเรื่องส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับศาสนา การใช้ข้อมูลจากตำนานต้องตรวจสอบกับหลักฐานอื่นๆ ให้ดีก่อน เพราะตำนานมักจะคัดลอกต่อๆ กันมา
บางเรื่องมีหลายสำนวน เช่น ตำนานมูลศาสนามีถึง ๕ สำนาน การคัดลอกมีข้อความผิดพลาดตกหล่น บางครั้งก็เขียนต่อยาวกันเป็นพืด
ทั้งที่เป็นคนละเรื่องกัน ทำให้ยากต่อการตีความ”ดังนั้น ในเล่ม “สยามในอดีต” จึงพยายามคัดลอกให้เหมือนต้นฉบับจริงให้มากที่สุด